บทความทั้งหมด

การเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายเป็นประจำสามารถช่วยป้องกันและรักษาโรคภูมิแพ้เรื้อรังได้จริง นี่คือสิ่งที่แพทย์ผู้เชี่ยวชาญทั่วโลกได้แนะนำ

คนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่า ริดสีดวง เกิดจากการท้องผูก หรือการเบ่งอุจจาระแรงเกินไปเท่านั้น แต่รู้ไหมว่า แท้จริงแล้ว การนั่งห้องน้ำนานก็เป็น 1  ในสาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาริดสีดวงเช่นกัน 

ไขข้อสงสัย “อาการท้องเสีย” เมื่อใช้ยาปฏิชีวนะ (ยาฆ่าเชื้อ) 

ภาวะที่ในท้องมีอุจจาระจำนวนมากเกินไป จนทำให้เกิดอาการผิดปกติขึ้นกับร่างกายมีอยู่จริง และอันตรายภาษาชาวบ้านอาจเรียกว่ามี “ขี้เต็มท้อง ” หรืออาจหมายถึงภาวะอุจจาระอุดตัน

หากพูดถึงโรคร้ายที่พรากชีวิตคนที่คุณรักไปในหลายๆ ครอบครัว ซึ่งหนึ่งในโรคแรกๆ ที่หลายๆ คนคงจะนึกถึงนั่นก็คือ “โรคหัวใจ” โดยวันที่ 29 ก.ย. ของทุกปี ถือได้ว่าเป็น “วันหัวใจโลก” จัดขึ้นเพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงความสำคัญของโรคหัวใจ โดยพบว่าประชากรทั่วโลกเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจขาดเลือดเป็นอันดับ 1 !!

วัยสูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) เป็นวัยที่อวัยวะและระบบต่าง ๆ ในร่างกายเริ่มเสื่อมถอย จึงควรเน้นการตรวจการทำงานของร่างกายอย่างละเอียดโดยเฉพาะโรคที่เกิดจากสภาพที่ถดถอยของอวัยวะอย่างหัวใจ ไต สมอง อวัยวะในช่องท้อง คัดกรองมะเร็งตับ มะเร็งลำไส้ รวมถึงตรวจมวลกระดูก

“ พบว่าการดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณที่มากจะทำให้มีความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจไม่แข็งแรง เกิดหัวใจวายได้ง่าย ”

ไบโอซินเป็นโพรเเละพรีไบโอติกที่สะกัดมาจากพืช เเละไฟเบอร์จากผลไม้ มีใยอาหาร เเละใยอาหาร ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ปรับสมดุลลำไส้ เเละลดคอเลสเตอรอลในเลือดสูง ถ้าคอเลสเตอรอลในเลือดสูงก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้มีความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจได้นั่นเอง

แม้โรคหัวใจ จะพบมากในผู้สูงอายุ แต่ในปัจจุบันกลับพบว่าคนที่อายุยังน้อยหรือวัยรุ่นก็มีความเสี่ยงเป็นโรคหัวใจได้มากเช่นกัน บางคนอายุแค่ 30 - 35 ปี ก็เป็นโรคหัวใจแล้ว ส่วนใหญ่มักเกิดจากความผิดปกติที่เป็นมาตั้งแต่กำเนิด รวมทั้งเกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต การไม่ดูแลสุขภาพที่ทำให้เสี่ยงเป็นโรคหัวใจ ฉะนั้นการลด ละ เลี่ยง พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวเองก็สามารถลดความเสี่ยง หรือป้องกันการเกิดโรคหัวใจในอนาคตได้

“ จากผลการวิจัยของศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย พบว่าความเครียดทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้นจึงส่งผลให้หลอดเลือดแดงแข็งตัว เกิดภาวะขาดเลือดและนำไปสู่โรคหัวใจได้ ”

เคล็ดลับเสริมภูมิคุ้มกันใน "วัยทอง" ด้วยซินไบโอติก

กันไว้ดีกว่าแก้ อาการภูมิแพ้อาหารแฝง

BioSyn ซินไบโอติกปรับสมดุลลำไส้ เหมาะกับใครบ้าง

"โพรไบโอติก" เเต่ละสายพันธ์ช่วยเรื่องอะไรบ้าง

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้